ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิสูตร โพธิ์เงิน
ที่อยู่
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรเลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน ต.พระปฐมเจดีย์ อ.เมือง จ.นครปฐม 7300
eMail : wisudpo@gmail.com
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
ค.ด. (อุดมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(2553)
ค.ม. (ศิลปศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(2547)
กศ.บ. (ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ(2543)
สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน
ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2561). “กิจกรรมการเรียนรู้ศิลปะเพื่อส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล(MIDL)สำหรับนักเรียนประถมศึกษา”. นครปฐม, ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน. 104 หน้า.
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2560). “การพัฒนาเยาวชนไทยระดับประถมศึกษาโดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะพหุปัญญาส่งเสริมความเป็นพลเมืองอาเซียน”.นครปฐม, ทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ. 285 หน้า.
วิสูตร โพธิ์เงิน วิสาข์ จัติวัตร์, มาเรียม นิลพันธุ์, อรพิณ สิริสัมพันธ์, และอธิกมาส มากจุ้ย.(2560).
การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม, ทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 149 หน้า.
วรรณวีร์ บุญคุ้ม, วิสูตร โพธิ์เงิน, และพจนา บุญคุ้ม. (2559). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้
กศน.ตำบลในภูมิภาคตะวันตกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน. นครปฐม.ทุนสนับสนุน
การวิจัยจากคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติผ่านสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย
ศิลปากร. 148 หน้า.
วรรณวีร์ บุญคุ้ม, วิสูตร โพธิ์เงิน, และมนัสนันท์ น้ำสมบูรณ์. (2558). “การพัฒนาทักษะการเรียนรู้
อย่างสร้างสรรค์แบบองค์รวมของผู้สูงอายุในชนบทไทย: ด้านอาชีพ”นครปฐม, ทุนสนับสนุนจากสำนักคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติผ่านสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
250 หน้า.
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2555).การศึกษาความพึงพอใจการใช้วีดีทัศน์โครงโทรทัศน์ครูในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนวิชา การสอนศิลปะในระดับประถมศึกษา สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี
สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ทุนสนับสนุนการวิจัยจาก
โครงการโทรทัศน์ครู สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 141 หน้า.
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2555).การใช้สุนทรียสนทนาเพื่อพัฒนาความสามารถในการตั้งคำถามของนักศึกษา
ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ทุน
สนับสนุนจากฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
125 หน้า.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการและงานวิจัยในรูปแบบบทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2561).“การพัฒนาเยาวชนไทยระดับประถมศึกษาโดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะพหุ
ปัญญาส่งเสริมความเป็นพลเมืองอาเซียน”. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ปีที่
46ฉบับที่ 4(ต.ค. –ธ.ค. 61). หน้า 401 418.(TCI )กลุ่มที่1
Wisud Po Ngern and Sorapas Namsomboon(2018). “Department of Curriculum and
Instruction, Faculty of Education, Silpakorn University”วารสารE–Veridian,
Silpakorn University: International, Humanity, Social science and Arts.
Vol.11 No.4 (January- June 2018) pp. 200 – 208. (TCI) กลุ่มที่1
วรรณวีร์ บุญคุ้ม, วิสูตร โพธิ์เงิน, และมนัสนันท์ น้ำสมบูรณ์. (2561).“การพัฒนาทักษะการเรียนรู้อย่าง
สร้างสรรค์แบบองค์รวมสำหรับผู้สูงอายุในชนบทไทย : ด้านอาชีพ”วารสาร
สังคมศาสตร์บูรณาการ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.ปีที่ 5 ฉบับ1เดือน มกราคม – มิถุนายน2561.หน้า 106 – 115. (TCI) กลุ่มที่ 2
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2560).“ความเป็นพลเมืองอาเซียนของเยาวชนไทยระดับประถมศึกษา”. วารสาร
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ปีที่ 20 ฉบับเดือน มกราคม –ธันวาคม 2560.หน้า 246 -256. (TCI) กลุ่มที่1
วิสูตร โพธิ์เงิน, วิสาข์ จัติวัตร์, มาเรียม นิลพันธุ์, อรพิณ สิริสัมพันธ์,และอธิกมาส มากจุ้ย. (2560).
“การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร” วารสาร E–Veridian, Silpakorn University.
ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน ถึง ธันวาคม ปี 2560.หน้า 1180 – 1196.(TCI) กลุ่มที่1
วรรณวีร์ บุญคุ้ม, วิสูตร โพธิ์เงิน, และพจนา บุญคุ้ม. (2559). “การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้
กศน.ตำบลในภูมิภาคตะวันตกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน”วารสาร E–Veridian,
Silpakorn University. ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน ถึง ธันวาคม ปี 2559. pp.840 –
856.(TCI) กลุ่มที่1
WISUD PO NGERN.(2016).“Conceptual framework in Art Education”. The Silpakorn
University Journal if Social Science, Humanities, and Arts, Volume 16 no.3.
- pp. 53 – 76. (TCI) กลุ่มที่1
WANAWEE BOONKHUM, WISUD PO NGERN, AND MANASSANAN NAMSOMBOON. (2015).
Development of Holistic Creative Learning Skills for Elderly People in Rural Area of Thailand: Career Dimension.ECCS 2015: The European Conference on Social Science 2015 Official Conference Proceedings 2015. pp.149 –162.
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2556). “การใช้สุนทรียสนทนาเพื่อพัฒนาความสามารถในการตั้งคำถามของนักศึกษา
ระดับปริญญาตรีสาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร”วารสาร
ศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากรปีที่ 5 ฉบับที่ มกราคม – มิถุนายน 2556 :
21 – 33. (TCI) กลุ่มที่1
บทความวิชาการ
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2561). “รูปแบบกิจกรรมศิลปะเด็กสร้างสรรค์ : ความเป็นพลเมือง”. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.ปีที่ 16ฉบับที่ 1 (ม.ค. –มิ.ย. 61). หน้า 39 – 51.
(TCI) กลุ่ม 2
วิสูตร โพธิ์เงิน. (2560). “STEAMศิลปะเพื่อสะเต็มศึกษา:การพัฒนาการรับรู้ความสามารถและแรง
บันดาลใจให้เด็ก”. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ปีที่45 ฉบับที่ 1 (ม.ค. –
มี.ค. 60). หน้า 320 – 334.(TCI) กลุ่ม 1
WISUD PO NGERN. (2014). “Living in the Salween Basin: The Way of Life in a
Marginalized Community” Unisearch Journal. Vol.1 No.2 May-Aug. 2014.pp.7 -10.
ความเชี่ยวชาญ
- การจัดการเรียนรู้ทางด้านทัศนศิลป์ทุกระดับศึกษา
- ศิลปศึกษา
- การออกแบบสื่อภาพประกอบสำหรับเด็ก
- การจัดการความรู้
- การบริหารจัดการสถานศึกษา